วันพุธที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2553

สารสนเทศ






ข้อมูลและสารสนเสศ
            1. ข้อมูล(data)
            2. สารสนเทศ(information)
ระบบสารสนเทศ
            1. สารสนเทศที่จำเป็น
            2. สารสนเทศที่ถูกต้องตามกฎหมาย
            3. สารสนเทศที่ได้รับมิบหมายให้จัดทำขึ้นโดยเฉส่วนประกอบของระบบสารสนเทศ


1. บุคลากร

2. ขั้นตอนการปฏิบัติ

3. ฮาร์ดแวร์

4. ซอฟต์แวร์

5. ข้อมูล



ประเภทของข้อมูล



1. ข้อมูลปฐมภูมิ

2. ข้อมูลทุติยภูมิ



การประมวลผลข้อมูล



การประมวลผลข้อมูลเป็นกระบวนการที่มีกระบวนการย่อยหลายกระบวนการประกอบอยู่ด้วยกันตั้งแต่การรวบรวมข้อมูล การแยกแยะ การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล การคำนวณ เป็นต้น



วิธีการประมวลผล



1. การประมวลผลแบบเชื่อมตรง(online processing)

2. การประมวลผลแบบกลุ่ม(batch processing)



การจัดการสารสนเทศ



1. การเก็บรวบรวมข้อมูล

2. การตรวจสอบข้อมูล

3. การรวบรวมเป็นแฟ้มข้อมูล

4. การจัดเรียงข้อมูล

5. การคำนวณ

6. การทำรายงาน

7. การจัดเก็บ

8. การทำสำเนา

9. การแจกจ่ายการสื่อสารข้อมูล

การแทนข้อมูล

การทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ซึ้งทั้งสองสถานะคือปิดและเปิด จึงมีการกำหนดใช้ตัวเลข 0 และ 1 แทนสถานะทั้งสองและมีกำหนดรหัสแทนอักขระซึ่งเป็นตัวเลขในระบบเลขฐาน สอง

1100 1010 = ส


1101 1000 = อุ

1011 0111 = ท

1011 1000 = ธ

1101 0100 = อิ

1011 0011 = ณ

1101 0101 = อี

                                                                   บทที่ 3


                                                     พัฒนาการของคอมพิวเตอร์


           เครื่องคำานวนในยุคประวัติศาสตร์
                 
                       1. เครื่องคำนวนลูกคิต
                       2. สร้างไม้บรรทัดคำนวน
                       3. เครื่องคำนวนของปาสคาล
                       4. เครื่องทอผ้าอัตโนมัติ
                       5. เครื่องดิฟฟอเรนซ์เอนจิน
                       6. เรื่องคำนวนแบบมีหน่วยความจำและมีหน่วยคำนวน                 

         คอมพิวเตอร์ยุคหลอดสุญญากาศ
 
                       1. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีการทำงานโดยเผาไส้หลอดให้เกิดประจุอิเล็กตรอน
                       2. เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกมีชื่อว่า  อินิแอค
                       3. จอหร์ มอชลี และ เจ เพรสเปอร์ เอ็คเคร์ท เป็นผู้พัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์  อินิแอค
                       4. จอร์น วอนนิวแมน เสอนแนวคิดในการสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน่วยความจำ
                       5. หน่วยเก็บข้อมูลในรูปของบัติเจาะรูจานแม่เหล็กและเทปแม่เหล็ก


         คอมพิวเตอร์ยุคทรานซิสเตอร์
                 
                      1. สถานบันวิจัยเบลของสหรัฐอเมริกาได้ทำการประดิษฐ์  ทรานซิสเตอร์  ได้สำเร็จ
                      2. ทรานซิสเตอร์มีขนาดเล็กใช้กระแสไฟฟ้าน้อย
                      3. เครื่องแมนเฟรม เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ทรานซิสเตอร์
                      4. ในยุคนี้คอมพิวเตอร์เริ่มมีเข้ามาใช้ในประเทศไทย

         คอมพิวเตอร์ยุครวม

                     สร้างทรานซิสเตอร์จำนวนมากลงบนแผ่นซิลิคอนขนาดเล็ก และเกิดวงจรรวมบนแผ่นซิลิคอนเรียกว่า ไอซี
เครื่องคอมพิวเตอร์มีการทำงานที่ซับซ่อนมีวงจรการทำงานที่ทำการคิด

         คอมพิวเตอร์ยุค วีแอลเอสไอ (VLSI)

                      1. สร้างวงจรรวมที่มีขนาดใหญ่มาวางบนแผ่นซิลิคอนทีมีขนาดเล็กเรียกว่าวงจร VLSI
                      2. วงจร VLSI  เป็นวงจรที่นำทรานซิสเตอร์จำนวนล้านตัวมารวมกัน
                      3. การผลิตไมโครโพรเซสเซอร์ทำให้คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงเรียกว่าไมโคร                   คอมพิวเตอร์
                      4. วงจร VLSI หรือเรียกอีกอย่างว่า ชิป

         คอมพิวเตอร์ยุคเครือข่าย

                      1. เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถประมวลผลและแสดงผลได้ครั้งละมากๆ


                     2.  เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำได้หลายๆงานพร้อมกัน